Information Retrieval Systems of Research Institute at Saun Sunandha Rajabhat University >
งานวิจัยปีงบประมาณ 2553 >
งานวิจัยภาษาไทย >
แหล่งทุนภายนอก ปีงบประมาณ 2553 >
Please use this identifier to cite or link to this item:
http://hdl.handle.net/123456789/73
|
Title: | การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมที่ส่งผลต่อค่าความจุของ Expander materials |
Authors: | มีนคร, สมศักดิ์ |
Keywords: | Expander materials ความจุ การผสม |
Issue Date: | 17-Jun-2015 |
Publisher: | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
Series/Report no.: | งานวิจัยปี 2553; |
Abstract: | การที่ประเทศไทยมีพื้นที่ตั้งอยู่ในภูมิศาสตร์ที่ดีของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีการเมืองและเศรษฐกิจที่มั่นคงการสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานรองรับ และอัตราค่าแรงงานขั้นต่่าไม่สูงมากเมื่อเทียบกับประเทศมาเลเซียและสิงคโปร์ รวมทั้งการที่ภาครัฐด่าเนินนโยบายเป็นศูนย์กลางในกลุ่มเอเซียนและนโยบายการค้าระหว่างประเทศเชิงรุก เช่น การตั้งเขตการค้าเสรี AFTA และความร่วมมือจัดท่าข้อตกลงการค้า FTA จึงท่าให้บริษัทนักลงทุนต่างชาติเล็งเห็นประโยชน์ในการให้ประเทศไทยเป็นฐานการผลิตและศูนย์กลางการส่งออกรถยนต์ของเอเชียซึ่งผลดีที่ตามมาคือ การเกิดอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนอะไหล่ยานยนต์และอุตสาหกรรมเชื่อมโยงต่างๆ
ส่าหรับแบตเตอรี่ยานยนต์ เป็นสิ่งที่อยู่คู่กับอุตสาหกรรมยานยนต์ในโลกมาเป็นเวลาช้านาน นับแต่มีการพัฒนารถยนต์ที่สามารถติดเครื่องยนต์โดยปราศจากการใช้แรงฉุดจากคนและมีอัตราความต้องการสูงขึ้นตามอัตราการเพิ่มจ่านวนของรถยนต์
ในอดีตที่ผ่านมาของไทย ในยุคก่อนการเริ่มต้นของอุตสาหกรรมยานยนต์ ประเทศไทยต้องน่าเข้าแบตเตอรี่ยานยนต์จ่านวนมาก เนื่องจากเป็นสิ่งที่ประกอบติดมากับยานยนต์ซึ่งส่วนใหญ่น่าเข้าส่าเร็จรูปทั้งคันและยังไม่มีการผลิตภายในประเทศยังคงน่าเข้าเรื่อยมาจนถึงในยุคเริ่มต้นของอุตสาหกรรมยานยนต์ของประเทศ เนื่องจากปริมาณความต้องการแบตเตอรี่ยานยนต์ในประเทศยังไม่สูงพอและไม่คุ้มค่าการลงทุนโรงงานแบตเตอรี่แห่งแรกของไทยได้ถือก่าเนิดขึ้นในปีพ.ศ. 2483 โดยกรมอู่ทหารเรือกองทัพเรือ โดยได้ท่าการผลิตแบตเตอรี่ส่าหรับใช้กับเรือด่าน้่า จนถึงประมาณปี พ.ศ. 2497 อุตสาหกรรมแบตเตอรี่ยานยนต์ของไทยในเชิงพาณิชย์ได้ถือก่าเนิดขึ้นตามอัตราการเติบโตของอุตสาหกรรมยานยนต์ในประเทศไทยประกอบกับแบตเตอรี่ยานยนต์สามารถประยุกต์ใช้ในด้านต่างๆได้มากมายโดยเฉพาะในพื้นที่ชนบทที่ยังไม่มีไฟฟ้าใช้ จึงท่าให้มีผู้ผลิตแบตเตอรี่ยานยนต์รายใหญ่จากต่างประเทศ ได้เข้ามาลงทุนเปิดโรงงานผลิตแบตเตอรี่ยานยนต์ เพื่อสนองต่อความต้องการของตลาดในประเทศและตลาดส่งออก โดยในปัจจุบันมีผู้ผลิตแบตเตอรี่รายใหญ่ภายในประเทศจ่านวน 8 ราย (www.krc.co.th)
ส่าหรับในการผลิตแบตเตอรี่รถไฟฟ้านั้น ในประเทศไทยมีการผลิตแบตเตอรี่รถไฟฟ้าน้อยมากส่วนใหญ่เป็นการน่าเข้าจากต่างประเทศ เพื่อน่ามาใช้งานอุตสาหกรรมในด้านต่างๆ มีบริษัทเอกชนเพียงบริษัทเดียว คือ บริษัท 3K ที่ท่าการผลิตแบตเตอรี่รถไฟฟ้าจ่าหน่ายภายในประเทศและมีหน่วยงานองค์การแบตเตอรี่สังกัดกระทรวงกลาโหม ซึ่งเป็นหน่วยงานของภาครัฐที่ท่าการผลิตแบตเตอรี่รถไฟฟ้าด้วยเช่นกันเพื่อสนับสนุนให้กับหน่วยงานของภาครัฐ ตามหน่วยงานต่างๆ ซึ่งเป็นการประหยัดงบประมาณในการน่าเข้าแบตเตอรี่รถไฟฟ้า แบตเตอรี่รถไฟฟ้ามีข้อด้อยที่ต้องท่าการแก้ไขในเรื่อง ความจุของพลังงานต่อ
2
ปริมาตรค่อนข้างน้อยและเวลาในการประจุแบตเตอรี่แต่ละครั้งใช้เวลามาก จึงท่าให้แบตเตอรี่รถไฟฟ้าไม่เพียงพอต่อความต้องการในการใช้งาน อาจเนื่องมาจากราคาน้่ามันมีราคาการปรับตัวสูงขึ้นและมีการรณรงค์เรื่องเกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม จึงเป็นเหตุให้หันมาใช้พลังงานแบตเตอรี่รถไฟฟ้าแทนมากขึ้น |
Description: | งานวิจัยงบประมาณแผนดิน ปีงบประมาณ 2553 มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา |
URI: | http://hdl.handle.net/123456789/73 |
ISSN: | งบประมาณแผนดิน(แบบปกติ) |
Appears in Collections: | แหล่งทุนภายนอก ปีงบประมาณ 2553
|
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.
|