Information Retrieval Systems of Research Institute at Saun Sunandha Rajabhat University >
งานวิจัยปีงบประมาณ 2561 >
งานวิจัยภาษาไทย >
แหล่งทุนภายใน ปีงบประมาณ 2561 >
Please use this identifier to cite or link to this item:
http://hdl.handle.net/123456789/1262
|
Title: | กลยุทธ์การส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ จังหวัดระนอง Strategies to Promote Medical Tourism in Ranong |
Authors: | บุญมาเลิศ, นางสาววิริยา |
Keywords: | กลยุทธ์, กลยุทธ์ส่วนประสมทางการตลาด, นักท่องเที่ยว, การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ - |
Issue Date: | 9-Jan-2019 |
Series/Report no.: | งานวิจัยปี 2561;- |
Abstract: | การวิจัยศึกษาเรื่องกลยุทธ์การส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ จังหวัดระนอง มี
วัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมและความคิดเห็นของนักท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
บ่อนาพุร้อน และการท่องเที่ยวเชิงนิเวศของจังหวัดระนอง 2)แนวทางการกาหนดกลยุทธ์ส่งเสริมการ
ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ และกลยุทธ์ส่งเสริมการตลาดการท่องเที่ยวของจังหวัดระนอง โดยก
ทาการศึกษาครอบคลุมพื นที่แหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของในพื นที่จังหวัดระนอง ผู้วิจัยได้กาหนด
ประชากรกลุ่มตัวอย่างเป็นนักท่องเที่ยวชาวไทยซึ่งแบ่งเป็นนักท่องเที่ยว และนักทัศนาจรที่เดินทางมา
ท่องเที่ยวแหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของจังหวัดระนอง เพื่อให้ผลการวิจัยมีความน่าเชื่อถือผู้วิจัยได้
อ้างอิงข้อมูลสถิตินักท่องเที่ยวชาวไทยที่เดินทางมาท่องเที่ยวในจังหวัดระนอง โดยการแจก
แบบสอบถามในช่วงฤดูกาลท่องเที่ยวของจังหวัดระนองในเดือนธันวาคม 2559 ถึงเดือนมกราคม
2560 ซึ่งจะมีจานวนนักท่องเที่ยวมากเป็นพิเศษ เพื่อได้ทราบถึงพฤติกรรมและความคิดเห็นของ
นักท่องเที่ยวในการเดินทางมาท่องเที่ยวเชิงสุขภาพจังหวัดระนอง ซึ่งจะได้เป็นแนวทางการกาหนดกล
ยุทธ์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและกลยุทธ์ส่งเสริมการตลาดการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพจังหวัด
ระนอง
จากการศึกษาพบว่าเพศหญิงนิยมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ จังหวัดระนองมากกว่าเพศชาย
โดยคิดเป็นร้อยละ 57.25 และ 42.75 ตามลาดับ ช่วงอายุที่นิยมท่องเที่ยวพบว่าอายุ 15-23 ปี มีการ
เดินทางท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ จังหวัดระนองมากที่สุดร้อยละ 28.75 และรองลงมาคืออายุ 33-41 ปี
ร้อยละ 26.75 สถานภาพสมรส/อยู่ด้วยกัน มีการท่องเที่ยวสูงสุดร้อยละ 46.00 ความคิดเห็นของ
ผู้ตอบแบบสอบถามในการแสดงความคิดเห็นต่อการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพนาพุร้อนในด้านผลิตภัณฑ์
อยู่ในระดับมากโดยมีค่า ̅ = 3.95 ในด้านราคาอยู่ในระดับมาก โดยมีค่า ̅ = 3.91 ด้านช่องทาง
จัดจาหน่ายอยู่ในระดับมากโดยมีค่า ̅ = 3.78 ด้านการส่งเสริมการตลาดอยู่ในระดับมากโดยมีค่า
̅ = 3.34 และเมื่อพิจารณาในภาพรวมแล้วอยู่ในระดับมากโดยมีค่า ̅ 3.79 นอกจากนีพบว่าผู้ตอบ
แบบสอบถามมีข้อเสนอแนะเพิ่มเติมในเรื่องเส้นทางการคมนาคมและการประชาสัมพันธ์แหล่ง
ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพบ่อนาพุร้อนจังหวัดระนองให้มากขึ น |
Description: | งานวิจัยงบประมาณรายได้มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
URI: | http://hdl.handle.net/123456789/1262 |
Appears in Collections: | แหล่งทุนภายใน ปีงบประมาณ 2561
|
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.
|