Information Retrieval Systems of Research Institute at Saun Sunandha Rajabhat University >
งานวิจัยปีงบประมาณ 2559 >
ภาษาไทย >
แหล่งทุนภายใน ปีงบประมาณ 2559 >
Please use this identifier to cite or link to this item:
http://hdl.handle.net/123456789/1945
|
Title: | แนวทางการพัฒนาเครือข่ายทางสังคมเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและวิถีชีวิตของประชาชน ตลาดน้ำสู่การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในเขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร |
Authors: | ภูคำชะโนด, ภูสิทธ์ |
Keywords: | เครือข่ายทางสังคม อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม |
Issue Date: | 16-Nov-2020 |
Abstract: | การวิจัยในครั้งนี้กำหนดวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาระดับการมีส่วนร่วม จิตสำนึกของประชาชน
ในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและวิถีชีวิตริมน้ำ และเพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนารูปแบบการสร้าง
จิตสำนึกของประชาชนในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและวิถีชีวิตริมน้ำเขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร โดย
เก็บแบบสอบถามจาก 400 กลุ่มตัวอย่าง และทำการสัมภาษณ์ประชาชนและผู้นำขับเคลื่อนตลาดน้ำ
จำนวน 30 คน พบว่า ประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ตลาดน้ำทั้ง 5 แห่ง มีการเป9นสมาชิกกลุ่มทาง
สังคม โดยเฉพาะกลุ่มออมทรัพย์มากที่สุด การดำรงอยู่มีความเป็นเพื่อนบ้านที่สนิทสนมคุ้นเคยกันได้
พบปะพูดคุย สนทนาปรึกษาและขอความช่วยเหลือกับเพื่อนบ้านที่สนิทสนมคุยเคยกันอย่างสม่ำเสมอ
เข้าร่วมกิจกรรมในวันสำคัญทางพุทธศาสนา เช่น วันมาฆบูชา วันเข้าพรรษา ประเพณีนิยม เช่น วันป>
ใหม่ วันสงกรานต์ วันแม่ วันพ่อ นอกจากนี้ทุกคนมีความพึงพอใจในชุมชนที่มีความสะดวกสบายใน
เรื่องการมีไฟฟ้า น้ำประปา โทรศัพท์ และสุขภาวะมีอย่างสมบูรณะ รวมถึงมีความรักผูกพันต่อชุมชน
เสมอเป็นบ้านอีกหลังหนึ่งที่ร่วมกันคอยดูแลปกป้อง เพราะทุกคนมีอิสระ พูดคุยสนทนากันได้อย่างมี
ความเป9นกันเอง ในวันหยุดเสาร อาทิตย และวัดหยุดนักขัตฤกษ ประชาชนมีพื้นที่พักผ อนหย อนใจ
เป9นตลาดน้ำ สามารถท องเที่ยวและนำผลผลิตและสินค าจากการเกษตรมาข ายได เช นเดียวกัน ส วน
การอนุรักษ สิ่งแวดล อมและวิถีชีวิตริมน้ำ ปกติประชาชนมีการใช คลองน้ำในการจัดกิจกรรมประเพณี
และวัฒนธรรม เช น การลอยกระทง ชักพระ สงกรานต ฯ และมีการใช คลองในการประกอบพิธีกรรม
การขมาแม น้ำ หรือการไหว แม ย านางเรืออีกด วย ประชาชน มีส วนร วมโดยรวมอยู ระดับปานกลาง แต
มีด านความรับผิดชอบต อสาธารณะ สิ่งแวดล อม และวิถีชีวิตริมน้ำเป9นมีระดับสูง และประชาชน
ตระหนักในคุณค าของน้ำว า “เป9นสิ่งจำเป9นในการดำรงชีวิต” เราไม ควรทิ้งขยะหรือสิ่งปฏิกูลลงใน
แม น้ำลำคลองเพราะจะทำให เกิดการเน าเสีย พร อมกับควรฝGกใช น้ำอย างประหยัดให เกิดเป9นนิสัยอีก
ด วย สิ่งหนึ่งประชาชนต องปฏิบัติเป9นเหมือนสัญญาประชาคม คือ การให คำแนะนำหรือปลูกจิตสำนึก
คนในครอบครัวให มีความตระหนักถึงการอนุรักษ สิ่งแวดล อมและวิถีชีวิตริมน้ำ และการตระหนักใน
การเตือนตนเองเสมอว า “จะไม ทิ้งสิ่งของลงในคลองน้ำ” จนสามารถกำหนดเป9นรูปแบบแนวทางการ
พัฒนาจิตสำนึกของประชาชนบนฐานการมีส วนร วมรับผิดชอบสาธารณะนั่นเอง |
URI: | http://hdl.handle.net/123456789/1945 |
Appears in Collections: | แหล่งทุนภายใน ปีงบประมาณ 2559
|
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.
|