DSpace About DSpace Software
 

Information Retrieval Systems of Research Institute at Saun Sunandha Rajabhat University >
งานวิจัยปีงบประมาณ 2560 >
งานวิจัยภาษาไทย >
แหล่งทุนภายนอก ปีงบประมาณ 2560 >

Please use this identifier to cite or link to this item: http://hdl.handle.net/123456789/1013

Title: การผลิตสารเคลือบที่มีตัวท้าละลายฐานน้ามันมะพร้าวเพื่อสิ่งแวดล้อม
Authors: เจริญโสภา, ไกรพ
พลอยศรี, วัฒน์
Keywords: การพิมพ์ออฟเซต, สารเคลือบ, น้ามันมะพร้าว
Issue Date: 26-Nov-2018
Series/Report no.: งานวิจัยปี 2560;
Abstract: การวิจัยครั งนี มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อผลิตสารเคลือบที่มีตัวท้าละลายฐานน้ามัน มะพร้าว (2) เพื่อหาสูตรที่เหมาะสมในการผลิต และเพื่อทดสอบคุณสมบัติและคุณภาพงานพิมพ์ของ สารเคลือบ ท้าการผสมสารเคลือบโดยใช้น้ามันมะพร้าวเป็นส่วนผสม จากนั นท้าการการทดสอบ คุณสมบัติของสารเคลือบได้แก่ ความเหนียว ความหนืด การไหล และการกระจายตัว ของสารเคลือบ เปรียบเทียบกับสารเคลือบเชิงพาณิชย์ ผลการวิจัยสามารถได้สูตรที่เหมาะสมของการใช้สารเคลือบที่มีตัวท้าละลายฐานน้ามัน มะพร้าว เพื่อใช้ในการผลิตพบว่าสูตรผสมที่ดีที่สุดคือใช้น้ามันมะพร้าว 50 % Phenolic resin 35 % และ solvent oil 15 % การทดสอบค่าความเหนียว (Tack) พบว่ามีค่าน้อยกว่าสารเคลือบเชิง พาณิชย์ และท้าการทดสอบคุณสมบัติของสารเคลือบที่มีตัวท้าละลายฐานน้ามันมะพร้าว ว่าค่าความ หนืด (Viscosity) การทดสอบค่าการไหล (Ink Flow) การทดสอบค่าการกระจายตัว (Ink Spread) ของสารเคลือบที่มีตัวท้าละลายฐานน้ามันมะพร้าวพบว่ามีค่าน้อยกว่าสารเคลือบเชิงพาณิชย์ ผลการทดสอบคุณภาพงานพิมพ์ฐานน้ามันมะพร้าว บนกระดาษกระดาษอาร์ตการ์ด 2 หน้า 230 แกรม ค่าความเงาเฉลี่ย เท่ากับ 82.30 gloss unit (GU) คุณภาพงานพิมพ์สารเคลือบเชิง พาณิชย์ บนกระดาษกระดาษอาร์ตการ์ด 2 หน้า 230 แกรม ค่าความเงาเฉลี่ย เท่ากับ 97.20 gloss unit (GU) และผลการทดสอบคุณภาพงานพิมพ์ฐานน้ามันมะพร้าว บนกระดาษกระดาษอาร์ตการ์ด 2 หน้า 260 แกรม ค่าความเงาเฉลี่ย เท่ากับ 82.50 gloss unit (GU) คุณภาพงานพิมพ์สารเคลือบ เชิงพาณิชย์ บนกระดาษกระดาษอาร์ตการ์ด 2 หน้า 260 แกรม ค่าความเงาเฉลี่ย เท่ากับ 97.60 gloss unit (GU) ผลความพึงพอใจของผู้ประกอบการในการใช้งานสารเคลือบฐานน้ามันมะพร้าว ด้าน คุณภาพภายหลังพิมพ์ โดยรวม เฉลี่ยอยู่ที่ 4.48 มีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.16 มีความพึง พอใจอยู่ในระดับมาก ความพึงพอใจของผู้บริโภคในการใช้งานสารเคลือบฐานน้ามันมะพร้าว ความ พึงพอใจด้านคุณภาพภายหลังพิมพ์ โดยรวมเฉลี่ยอยู่ที่ 4.31 มีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.30 มี ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
Description: งานวิจัยงบประมาณแผ่นดิน ปีงบประมาณ2560 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
URI: http://hdl.handle.net/123456789/1013
Appears in Collections:แหล่งทุนภายนอก ปีงบประมาณ 2560

Files in This Item:

File Description SizeFormat
รวมเล่ม วช 60.pdfรวมทั้งหมด1.23 MBAdobe PDFView/Open
View Statistics

Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.

 

Valid XHTML 1.0! DSpace Software Copyright © 2002-2010  Duraspace - Feedback